กำหนดการ

กำหนดการ
การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “สานสัมพันธ์วัฒนธรรมอาเซียน” ครั้งที่ 5
ภูษาอาเซียน การปรับตัว การเปลี่ยนแปลง และพลังสร้างสรรค์
วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม 2562 ณ อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ห้องประชุม 4  อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

เวลา กิจกรรม
เวลา 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ
เวลา 09.00 – 09.20 น. พิธีเปิดการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติฯ ครั้งที่  5 “ภูษาอาเซียน”
 – กล่าวรายงานโดย รศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ รักษาการแทนผู้อำนวยการอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
 – กล่าวเปิดงานโดย ศ.ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  
เวลา 09.20 – 09.30 น. กล่าวต้อนรับโดย สถานกงสุลสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ประจำจังหวัดสงขลา
Preliminary talk on “ASEAN Fabrics: Significance and Value” by Mr. Fachry Sulaiman,
Consul-General of the Republic of Indonesia  
เวลา 09.30 – 11.00 น. พิธีเปิดงาน และการเดินแฟชั่นโชว์ผ้าอาเซียน
เวลา 11.00 – 12.00 น. ปาฐกถาพิเศษประเด็น ผ้าอาเซียน”  โดย อ.เผ่าทอง ทองเจือ
เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 14.30 น. Speakers from ASEAN Countries (TBC)
Philippines: MS. Corazon S. Alvina
Myanmar: Ms Khin Lai Lai Phyu    
Cambodia: Mr. Siyonn Sophearith
Thailand : Ms.Sarttarat Muddin
เวลา 14.30 – 16.00 น. การเสวนา ภูษาอาเซียน การปรับตัว การเปลี่ยนแปลง และพลังสร้างสรรค์ 
อาจารย์ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง : ผ้าอินเดียในสยาม
รศ.กันต์ พูนพิพัฒน์ : ผ้าล้านนา
คุณอุดม เหรียญตระกูล : ผ้าลาวในไทย
รศ.ดร. สืบพงศ์ ธรรมชาติ : ผู้ดำเนินการเสวนา
เวลา 16.00-16.30 น. สรุปและสังเคราะห์ประเด็นในการจัดประชุมวิชาการ โดย รศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ
เวลา 16.30-17.00 น. มอบเกียรติบัตรให้กับผู้นำเสนอผลงานวิชาการ / ปิดการประชุม

นิทรรศการ  ผ้าอาเซียน 
การจัดแสดงนิทรรศการผ้าอาเซียน  การแสดงแฟชั่นโชว์ผ้าอาเซียน 
ณ โถงกลางชั้น 2 อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม

หมายเหตุ : กำหนดการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

ห้องประชุมย่อย  อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  

เวลา กิจกรรม
เวลา 13.00 – 16.00 น. นำเสนอผลงานวิชาการด้วยวาจา (Oral Presentation)  ภายใต้แนวคิด ภูษาอาเซียน :  
การปรับตัว การเปลี่ยนแปลง และพลังสร้างสรรค์ ประกอบไปด้วยมิติต่างๆ ดังนี้
– ภูมิปัญญาผ้าอาเซียนกับวิถีและวัฒนธรรม
– ผ้าอาเซียนกับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัว 
– ผ้าอาเซียนสู่การสร้างสรรค์ และการสร้างมูลค่าเพิ่ม
– ผ้าอาเซียนกับวัฒนธรรมร่วมสมัย
เวลา 16.00-16.30 น. ประกาศผล The Best Paper Award


 
โปรแกรมการนำเสนอผลงาน​วิชาการด้วยวาจา (Oral Presentation)  
ภายใต้แนวคิด ภูษาอาเซียน :  การปรับตัว การเปลี่ยนแปลง และพลังสร้างสรรค์  กลุ่มที่ 1
ประธานผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.อำนวย ยัสโยธา รองประธาน ผศ.ดร.นิพนธ์ ทิพย์ศรีนิมิต รศ.ดร.บุญยงค์ เกศเทศ  
เลขาประจำกลุ่ม โกสินธุ์ ศิริรักษ์

 
เวลา 13.00 – 13.20 น. 1.พลวัตผ้าพื้นเมืองภาคใต้: ผ้าพานช้าง ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง โดย เชิดชัย  อ๋องสกุล
เวลา 13.20 – 13.40 น. 2.Creative Cultural  : Batik dyeing minerals from Red Soil Ao Luek  Printed Stamping and
creating a new value for the community Product of Baan Tham Sua, Ao Luek District, Krabi Province
by Theerakan Pokaew
เวลา 13.40 – 14.00 น. 3. ผ้าปาเต๊ะ ตรังกานู : งานสร้างสรรค์ ศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ โดย ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์
เวลา 14.00 – 14.20 น. 4. ผ้าพื้นบ้านภาคใต้สู่งานสร้างสรรค์ โดย สุพัฒน์ นาคเสน
เวลา 14.20 – 14.40 น. 5.การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นวัฒนธรรมการทอผ้าของชุมชนไทยโส้ อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม
โดย พณิฐา  ยงพิทยาพงศ์,  วีระศักดิ์ จุลดาลัย , ศราวุธ  ราชมณี
เวลา 14.40 – 15.00 น. 6. ระบำพัสตราบาติก โดย พรปวีณ์ ขุท์ทะกะพันธ์
เวลา 15.00 – 15.20 น. 7. ผ้ายาว:เรื่องราวโนรา โดย วิระเดช ทองคำ
เวลา 15.20 – 15.40 น. 8. มนเสน่ห์ผ้าทอ กะเหรี่ยง (ปกาเกอะญอ) : ความสวยงามของลวดลายบนวิถีชาติพันธุ์ โดยสุพจน์  ใหม่กันทะ
เวลา 15.40 – 16.30 น. ประกาศผล The Best Paper Award

 

 

โปรแกรมการนำเสนอผลงานวิชาการด้วยวาจา (Oral Presentation)  
ภายใต้แนวคิด ภูษาอาเซียน :  การปรับตัว การเปลี่ยนแปลง และพลังสร้างสรรค์  กลุ่มที่ 2
ประธานผู้ทรงคุณวุฒิ ศ.ชวน เพชรแก้ว  รองประธาน รศ.เรวัต สุขสิกาญจน์
เลขาประจำกลุ่ม นางสาวสุจิดา ย่องจีน

 
เวลา 13.00 – 13.20 น. 1. “ซิ่นไหมจีน”: การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการแต่งกายของแม่หญิงลาว โดย สมพาวัน แก้วบุดตา
เวลา 13.20 – 13.40 น. 2. ผ้าไทยวนกับการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวกรณีศึกษาผ้าและเครื่องแต่งกายชาวไทยวนในเขตอำเภอแม่แจ่ม
จังหวัดเชียงใหม่ โดย มาณพ มานะแซม
เวลา 13.40 – 14.00 น. 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าในเส้นทางสายไหมทางทะเล โดย เอื้อมพร โตภาณุรักษ์กุล
เวลา 14.00 – 14.20 น. 4. ความหลากหลายของลวดลายผ้าทอเกาะยอตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดย พนัดดา เทพญา
เวลา 14.20 – 14.40 น. 5. รูปแบบเครื่องแต่งกายราชสำนักหลวงพระบาง กับการเปลี่ยนแปลง โดย วิทยา วุฒิไธสง
เวลา 14.40 – 15.00 น. 6.“ผ้าชนเผ่าในล้านนา” : รูปแบบ ความสวยงาม และคุณค่าของหัตถกรรมคนชายขอบ  โดย ภาณุพงศ์  จงชานสิทโธ
เวลา 15.00 – 15.20 น. 7.ผ้าท้องถิ่นสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานทุนวัฒนธรรมชายแดนใต้ โดย พรปวีณ์     พุ่มเกิด
เวลา 15.20 – 15.40 น. 8. การวิเคราะห์ความหมายเชิงสัญญะและการประกอบสร้างอัตลักษณ์การท่องเที่ยว
วิถีชุมชนผ้าพื้นเมือง : กรณีศึกษาสื่อประชาสัมพันธ์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จังหวัดสุรินทร์  
โดย ปุณณรัตน์ พิงคานนท์,ทรงเกียรติ จรัสสันติจิต, จณัญญา วงศ์เสนา จงศิริ
เวลา 15.40 – 16.30 น. ประกาศผล The Best Paper Award